เที่ยวแม่ฮ่องสอน โครงการหลวงปางตอง

4504
เที่ยวแม่ฮ่องสอน โครงการหลวงปางตอง แม่ฮ่องสอน เป็นที่ตั้งของโครงการในพระราชดำริปางตอง และเป็นจังหวัดที่เหมาะสำหรับการท่องเที่ยว พักผ่อน ชมธรรมชาติ และรับลมหนาวววเป็นที่สุด เพราะเป็นจังหวัดที่ มีสถานที่ท่องเที่ยวมากมาย และอากาศเย็นสบาย
โครงการหลวงปางตอง เป็นโครงการพัฒนาตามพระราชดำริ จังหวัดแม่ฮ่องสอนมีอาณาเขตติดต่อประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมแห่งสหภาพพม่ามีสภาพพื้นที่เป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนอุดมสมบูรณ์ด้วยพืชพันธุ์ไม้นานาชนิด สภาพภูมิอากาศบนที่สูงหนาวเย็นตลอดปี ราษฎรที่อาศัยอยู่ส่วนใหญ่เป็นชาวพื้นเมืองเรียกว่า ชาวไต หรือ ไทยใหญ่ ที่เหลือเป็นชาวเขาเผ่า กระเหรี่ยง มัง มูเซอ ลีซอและ ลัวะ
ในอดีตแม่ฮ่องสอน ได้เกิดปัญหาหลายประการ ได้แก่...
ดูเพิ่มเติม
พระตำหนักปางตอง อยู่ในเขต ต.หมอกจำแป่ สามารถเดินทางไปโดยใช้เส้นทางเดียวกับทางเข้าวนอุทยานผาเสื่อ และต้องเดินทางต่อไปอีก 5 กม. ตัวเรือนประทับแรมตั้งอยู่บนยอดเขาสูงที่บ้านปางตองในโครงการพัฒนาพื้นที่สูงปางตอง มีทิวทัศน์สองข้างสวยงาม ทางรถยนต์เข้าถึงและสามารถเดินทางไปสู่หมู่บ้านแม้วนาป่าแปก ซึ่งเป็นหมู่บ้านชาวเขาเผ่าแม้วที่สุขสงบและน่ารักมาก เลยต่อจากหมู่บ้านแม้วนี้ก็จะสามารถไปถึงหมู่บ้านแม่ออ ซึ่งเป็... ดูเพิ่มเติม
ปางอุ๋ง คือ หมู่บ้านรวมไทย เป็นหมู่บ้านภายในโครงการพระราชดำริปางตอง 2 (ปางอุ๋ง) ในพระบรมราชินูปถัมป์ของสมเด็จพระบรมราชินีนาถลักษณะพื้นที่เป็นอ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่บนยอดเขาสูง ริมอ่างเก็บน้ำเป็นแนวสนที่ปลูกเรียงรายอย่างกลมกลืนยามพระอาทิตย์ขึ้นจะสะท้อนผืนน้ำเป็นลำแสงสีทองผ่านแนวสนเขียวขจีงดงามจนถือได้ว่าเป็นทะเลสาบที่สวยที่สุดในเมืองไทยเปรียบได้กับ นิวซีแลนด์เมืองไทย และเมื่อได้สัมผัสกับแปลงพันธ์ไม้เมื... ดูเพิ่มเติม
ปาย ในปัจจุบัน ไม่เหมือน สิบปี่ก่อนที่ผมเคยรู้จัก ก่อนหน้านี้ปายมีแต่เกสท์เฮ้าสท์เล็กๆ เป็นบ้านไม้ 1-2 ชั้น แค่พออยู่ได้ นักท่องเที่ยวมีแต่ฝรั่ง นักท่องเที่ยวต้องเดินทางโดยสารรถแดง (บขส) มาเที่ยวหรือขาลุยหน่อยก็บิดมอเตอร์ไซท์มาจากเชียงใหม่
พวกฝรั่งชอบมาล่องแก่งลำน้ำปาย มีชื่อเสียงในระดับต้นๆ คือ ล่องแก่แม่เย็น ฝรั่งชอบเช่ามอเตอร์ไซท์ขับเที่ยวเล่นรอบตัวเมืองชั้นนอก เช่น ห้วยน้ำดัง น้ำตกมอแปง บ้านน้...
ดูเพิ่มเติม
สะพานประวัติศาสตร์ ท่าปาย อยู่ประมาณหลักกิโลเมตรที่ 88 คุณจะสามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนสะพานแห่งนี้ถูกสร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยกองทหารประเทศญี่ปุ่น เพื่อใช้ข้ามแม่น้ำปายและลำเลียงเสบียงและอาวุธเข้าไปยังประเทศพม่า หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง อำเภอปายจึงกลับคืนสู่ความสงบสุขอีกครั้งหนึ่ง โดยหลงเหลือไว้เพียงแต่สะพานแห่งนี้ว่า “สะพานประวัติศาสตร์”
แม้ในปัจจุบันจะมีสะพานปู...
ดูเพิ่มเติม
คนนคนเดินปาย เริ่มคึกคักด้วยนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และต่างชาติ เขามาทำอะไรกันที่ปาย สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ก็ ล่องแก่งแพยาง พักผ่อนริมน้ำปาย อ่านหนังสือ เที่ยววัด ปั้นจักรยาน หรือเช่ามอเตอร์ไซท์ขับ พักอยู่เกสท์เฮ้าสท์ราคาถูกๆ แถวต้วเมืองปาย ใกล้ถนนคนเดิน
สำหรับนักท่องเที่ยวชาวไทย เที่ยวห้วยน้ำดัง ไม่ค่อยนิยมล่องแพยางเท่าไรเพราะอันตรายเกินไป ขับรถเที่ยวเล่น แถวถนนหลัก กอแลน สะพานประวัติศาส...
ดูเพิ่มเติม
จุดชมวิวดอยกิ่วลม  เป็นจุดชมพระอาทิตย์ขึ้น และ ทะเลหมอก ที่ขึ้นชื่อที่สุดของอุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง ที่ความสูง 1,615 เมตร ในช่วงหน้าหนาวนี้ที่สวยงามเเละมีชื่อเสียงมาก มีแผงลอยของชาวเขา นำสินค้าพื้นเมืองมาขาย ห้องน้ำ ลานกว้างบนสันเขา นักท่องเที่ยวสามารถมองเห็นวิวได้แบบ 360 องศา ซึ่งจุดชมวิวทะเลหมอกของ อุทยานแห่งชาติห้วยน้ำดัง จะมีด้วยกัน 2 แห่ง คือบริเวณลานกางเต็นท์ ซึ่งยังเป็นจุดชม... ดูเพิ่มเติม
วัดพระธาตุแม่เย็น เป็นวัดเก่าแก่คู่เมืองปาย ตั้งอยู่บนเนินเตี้ยๆ ทางทิศตะวันออกของเมือง มีบันไดเดินขึ้นไปถึง ไม่มีหลักฐานว่าองคืพระธาตุสร้างในสมัยใด ทว่าลักษณะเป็นแบบพื้นบ้าน ไม่มีลวดลายประดับที่วิจิตรพิสดาร เคยปรักหักพังและได้รับการบูรณะขึ้นใหม่ ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงระฆังสีขาว ฐานกลม สูงราว 3 ม. มียอดฉัตรแบบเจดีย์พม่า
จุดชมวิวทิวทัศน์ จะมองเห็นทิวทัศน์ ของอำเภอปายโดยทั่วถึง เป็นจุดสังเกต ...
ดูเพิ่มเติม
ถ้ำปลา บริเวณโดยรอบเป็นลำธารและป่าเขา ถ้ำปลาตั้งอยู่บริเวณเชิงเขามีลักษณะเป็นแอ่งน้ำขนาดใหญ่กว้างประมาณ 2 ม. ลึก 1.50 ม. ภายในแอ่งน้ำมีน้ำไหลออกจากถ้ำใต้ภูเขาอยู่ตลอดเวลา และมีปลาตัวโตๆ อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เรียกชื่อ ว่าปลามุงหรือปลาคังหรือปลาพลวงเป็นปลามีเกล็ดขนาดใหญ่ในวงศ์เดียวกับปลาคาร์พ และถึงแม้จะมีอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่มีใครกล้าทำอันตราย เนื่องจากมีความเชื่อว่าเป็นปลาเจ้า หากใครนำไป... ดูเพิ่มเติม
กะเหรี่ยงคอยาว หรือชนเผ่าปาดอง ที่บ้านน้ำเพียงดิน เป็นชาวเขาเผ่าหนึ่งอาศัยอยู่ลึกเข้าไปในดินแดนพม่า (ติดต่อกับเขตบ้านน้ำเพียงดินของประเทศไทย) ชาวปาดอง ยังชีพด้วยการเกษตรกรรม ปลูกข้าว ใบชา ยาสูบส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธกับถือผี หญิงสาวชาวปาดองจะสวมห่วงทองเหลืองที่คอและแขนขาและจะเพิ่มจำนวนห่วงมากขึ้นเมื่อ มีอายุเพิ่มขึ้น การ สวมห่วงค้ำคอไว้ตลอดเวลา ห่วงจะดันให้คอดูยาวกว่าปกติ แต่เคยมีการพิสูจน์ในวงก... ดูเพิ่มเติม

กำลังเป็นที่นิยม

แนะนำทริป

จัดทริปของคุณ

ร้านอาหารใกล้เคียง