จตุธรรมธาตุ ภาคใต้
3028
ชวนไหว้ 4 พระธาตุศักดิ์สิทธิ์แดนใต้ ฝั่งอ่าวไทย
- พระบรมธาตุสวี จังหวัดชุมพร
- พระบรมธาติไชยา จังหวัดสุราษธานี
- พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
- พระมหาธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
- พระบรมธาตุสวี จังหวัดชุมพร
- พระบรมธาติไชยา จังหวัดสุราษธานี
- พระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช จังหวัด นครศรีธรรมราช
- พระมหาธาตุเจดีย์วัดเขียนบางแก้ว จังหวัดพัทลุง
วัดพระธาตุสวี ห่างจากถนนเพชรเกษมเพียง 900 เมตร ติดแม่น้ำสวี เป็นหนึ่งใน “จตุธรรมธาตุ” สิ่งศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ประดิษฐานอยู่ ณ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร อายุเก่าแก่กว่า 700 ปี ภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ถือว่าเป็น วัดสำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของจังหวัดชุมพร สันนิษฐานว่า สร้างขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา จนกระทั่งปี พ.ศ.2459 ได้มีการบูรณะครั้งใหญ่ โดยการสร้างพระธาตุครอบเจดีย์องค์เดิ...
ดูเพิ่มเติม
พระธาตุไชยา อยู่ตำบลเวียง อำเภอไชยา ห่างจากตัวเมืองสุราษฎร์ธานีประมาณ 54 กิโลเมตร ตามทางหลวงหมายเลข 81 และแยกเข้าทางหลวงหมายเลข 4011 เลี้ยวซ้ายบริเวณกิโลเมตรที่ 137 องค์พระเจดีย์เป็นโบราณสถาน ที่สร้างขึ้นตามแบบลัทธิมหายาน ตั้งแต่ครั้งอาณาจักรศรีวิชัยรุ่งเรือง รอบองค์พระธาตุมีเจดีย์เล็กๆ 4 ทิศ ล้อมรอบด้วยวิหารคด ซึ่งประดิษฐานพระพุทธรูปเก่าแก่ขนาดต่างๆ โดยรอบทั้ง 4 ด้าน
พระธาตุไชยานับเป็นปูชนีย... ดูเพิ่มเติม
พระธาตุไชยานับเป็นปูชนีย... ดูเพิ่มเติม
วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร ตั้งอยู่ริมถนนราชดำเนิน ตำบลในเมือง วัดพระมหาธาตุเป็นพระอารามหลวงชั้นเอกชั้นวรมหาวิหาร เดิมชื่อวัดพระบรมธาตุ เป็นปูชนียสถานที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งของ ภาคใต้และประเทศไทย ตามตำนานพระบรมธาตุนครศรีธรรมราช กล่าวว่า พระบรมสารีริกธาตุเสด็จมาสู่หาดทรายแก้ว โดยนางเหมชาลาฒ และพระธนกุมาร เมื่อประมาณปี พ.ศ.834 จึงได้สร้างพระบรมธาตุ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ
ผู้ปกครองเมืองนครศรีธ... ดูเพิ่มเติม
ผู้ปกครองเมืองนครศรีธ... ดูเพิ่มเติม
วัดเขียนบางแก้ว ตั้งอยู่ใกล้ทะเลสาบสงขลา เป็นวัดเก่าแก่ที่มีพระธาตุบางแก้ว สร้างแบบเดียวกับพระธาตุนครศรีธรรมราชแต่ขนาดเล็กกว่า เป็นปูชนียสถานที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของพัทลุง เชื่อว่าสร้างมาแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น สันนิษฐานว่าพื้นที่บริเวณวัดเขียนนี้จะเป็นที่ตั้งของเมืองพัทลุงมาก่อน เพราะพบซากปรักหักพัง ของศิลาแลง และพระพุทธรูปมากมาย...
ดูเพิ่มเติม